Share
ไม่พบรูปภาพ
ชื่อวิทยาศาสตร์

Scientific name

Ancistrocladus tectorius (Lour.) Merr.
ชื่อวงศ์

Family name

ANCISTROCLADACEAE
ชื่อพื้นเมือง

Local name

กระม้า Kra-ma (Khmer-Saraburi); ขุนมา Khun-ma (Khmer-Surin); ค้อนตีหมา Khon ti ma (Yala); ค้อนหมาขาว Khon ma khao (Central); ค้อนหมาแดง Khon ma daeng (Nakhon Ratchasima); คันทรง Khan song, ทองคันทรง Thong khan song (Chon Buri); โคนมะเด็น Khon ma den (Suphan Buri); ซินตะโกพลี Sin-ta-ko-phli (Karen-Lampang); พันทรง Phan song (Narathiwat); ลิดาซาปี Li-da-sa-pi (Malay-Peninsular); ลิ้น Lin, ลิ้นกวาง Lin kwang, ลิ้นควาย Lin khwai (lampang); หางกวา Hang kwang (Nakhon Phanom); หูกลวง Hu kluang (Prachin Buri, Trat); ยูลง Yu-long (Malay-Peninsular)
ชื่อสามัญ

Common name

ส่วนที่นำมาใช้

Plant part used

(Rt) Root
การใช้ประโยชน์

Uses and Ultilizing

ราก ผสมรากช้างนาว ต้มน้ำดื่ม แก้ปวดเมื่อย
ข้อควรระวัง

Caution

ฤดูติดดอก ออกผล

Flowering & Fruiting Season

ลักษณะ

Habit

ต้น เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง เมื่อต้นยังเล็กอยู่เป็นไม้พุ่ม กิ่งก้านมีตะขอโค้ง ช่วยในการเกาะเลื้อย ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับแน่นอยู่เหนือตะขอ รูปไข่กลับแกมขอบขนาน โคนใบสอบเรียว ปลายใบมน หรือเรียวแหลม กว้าง 3-10 ซ.ม. ยาว 9-30 ซ.ม. ดอก ออกเป็นช่อคล้ายช่อเชิงลด แตกแขนงเป็นสองง่ามหลายครั้ง ออกที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบเชื่อมติดกัน ผล เมื่อแหห้ง มีกลีบเลี้ยงติดอยู่กับปีก 5 ปีก
พื้นที่ที่พบในสวนฯ

Display area (QSBG)

การกระจายพันธุ์

Distribution

หมายเหตุ

Remark

เอกสารอ้างอิง

Reference(s)

สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 4 กกยาอีสาน (27)
QR code