Share
ไม่พบรูปภาพ
ชื่อวิทยาศาสตร์

Scientific name

Willughbeia edulis Roxb.
ชื่อวงศ์

Family name

APOCYNACEAE
ชื่อพื้นเมือง

Local name

คุย Khui (Peninsular); กะตังกะติ้ว Ka tang ka tio (Central); คุยกาย Khui kai, คุยช้าง Khui chang (Prachin Buri); คุยหนัง Khui nang (Rayong); หมากยาง Mak yang (Si Sa Ket)
ชื่อสามัญ

Common name

-
ส่วนที่นำมาใช้

Plant part used

(St) Stem
การใช้ประโยชน์

Uses and Ultilizing

ต้น เป็นยาแก้บิแก้โรคคุดทะราด และตับพิการ
ข้อควรระวัง

Caution

ฤดูติดดอก ออกผล

Flowering & Fruiting Season

ลักษณะ

Habit

ต้น ไม้เถาขนาดใหญ่ แข็งแรงมาก ภายใน เถาเมื่อเด็ดดูจะมียางสีขาวไหลซึมออกมา ใบ ใบเดี่ยว จะออกใบเรียงกันเป็นคู่ๆ ไปตาม ข้อต้น ใบรูปมนรี ปลายใบแหลมและเป็นติ่ง โคนใบมนหรือแหลม ขอบใบเป็นคลื่นเล็ก น้อย ใบสีเขียวด้านมนจะเป็นมัน กว้าง 1.5 -2.5 นิ้ว ยาว 4-6 นิ้ว ก้านใบยาว 0.5-1 นิ้ว ดอก ออกเป็นช่ออยู่ตามง่ามใบ ดอกมีอย ู่5 กลีบ โคนดอกนั้นจะเชื่อมติดกันเป็นท่อยาว ประมาณ 4 มม. เกสรกลางดอกมี 5 อัน กลีบรองดอกมี 5 กลีบ รูปกลมๆ ผล เป็นรูปมนรี คล้ายกับมะนาวแต่จะยาว กว่าเล็กน้อย มีเนื้อรสหวานรับประทานได้
พื้นที่ที่พบในสวนฯ

Display area (QSBG)

การกระจายพันธุ์

Distribution

หมายเหตุ

Remark

ราก ในประเทศมาเลเซีย นำรากมรต้มกับน้ำ ทานกินเป็นยารักษาโรคดีซ่านที่เกิดจากโรค มาลาเรีย หรือ นำรากมาตำให้ละเอียดใช้ ทาแก้โรคตัวเหลืองในทารก
เอกสารอ้างอิง

Reference(s)

QR code