Share








ชื่อวิทยาศาสตร์

Scientific name

Buddleja asiatica Lour.
ชื่อวงศ์

Family name

BUDDLEJACEAE
ชื่อพื้นเมือง

Local name

ราชาวดีป่า Rachawadi pa, หญ้าน้ำแป้ง Ya nam paeng, หัวเถื่อน Hua thuean, เกี๊ยงพาไฟล Kiang pha lai, ไคร้หางหมา Khrai hang ma, ดอกฟู Dok fu, มะหาดน้ำ Mahat nam (Chiang Mai); ไคร้บก Khrai bok (Northern); งวงช้าง Nguang chang (Chaiyaphum); ดอกด้ายน้ำ Dok dai nam (Chiang Mai, Mae Hong Son); ดอกด้ายหางหมา Dok dai hang ma (Chiang Mai, Lampang); ดอกถอ่น Dok thon, ฟอน Fon (Loei); ดอกแม่ม่าย Dok mae mai, แม่ม่าย Mae mai (Kanchanaburi); ปวกน้ำ Puak nam (Chiang Rai); ปุนปุ๊ก Pun-puk (Shan-Mae Hong Son); พู่จี่บอย Phu-chu-boi (Karen-Mae Hogn Son); โพหนองปี้ Pho-nong-pi (Karen-Kanchanaburi)
ชื่อสามัญ

Common name

ส่วนที่นำมาใช้

Plant part used

(Wp) Whole plant
การใช้ประโยชน์

Uses and Ultilizing

ทั้งต้น ต้มอาบแก้ปวดเมื่อย ต้มอาบแก้คันผิวหนัง มีสรรพคุณล้างสารตกค้าง ต้มรมแก้ผดผื่น ต้มอาบแก้อาการผอมแห้งแรงน้อย (2) ใบบดเอาน้ำทาบริเวณไฟไหม ใบใช้ห้ามเลือด ลำต้นและใบต้มดื่มสำหรับผู้หญิงอยู่เดือน ราก ลำต้น ใบ ต้มดื่มแก้นิ่ว (4) ทั้งต้น ใช้เป็นยารักษาโรค ผิวหนัง และเป็นยาทำให้แท้ง
ข้อควรระวัง

Caution

ฤดูติดดอก ออกผล

Flowering & Fruiting Season

ลักษณะ

Habit

ต้น ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง สูง 1-5 ม. ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนานถึงรูปใบหอกแคบ กว้าง 1-3 ซม. ยาว 9-14 ซม. มีขนนุ่มละเอียดสีขาวหนาแน่นที่ท้องใบ ดอก ช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวถึงม่วงอ่อน ผล แห้ง รูปกระสวย แตกตามตะเข็บเป็น 2 ฝา
พื้นที่ที่พบในสวนฯ

Display area (QSBG)

การกระจายพันธุ์

Distribution

หมายเหตุ

Remark

เอกสารอ้างอิง

Reference(s)

(4) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2558-2559 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่, ไม้ดอกไม้ประดับ (149), สมุนไพรพื้นบ้านล้านนา (53)
QR code