Share






ชื่อวิทยาศาสตร์

Scientific name

Celastrus paniculata Willd.
ชื่อวงศ์

Family name

CELASTRACEAE
ชื่อพื้นเมือง

Local name

กระทงลาย Krathong lai, กระทุงลายๅ Krathung lai, โชด Chot (Central); นางแตก Nang taek (Nakhon Ratchasima); มะแตก Ma taek, มะแตกเครือ Ma taek khruea, มักแตก Mak taek (Northern, Northeastern)
ชื่อสามัญ

Common name

-
ส่วนที่นำมาใช้

Plant part used

(St) Stem
การใช้ประโยชน์

Uses and Ultilizing

ราก ต้มดื่มแก้นิ่ว ใบ ต้มกินเป็นยาระบาย ต้มดื่มเป็นยาบำรุงร่างกาย (2) รากต้มดื่มแก้ปัสสาวะขัด (4) ลำต้น ขับปัสสาวะแก้ไตพิการ
ข้อควรระวัง

Caution

ฤดูติดดอก ออกผล

Flowering & Fruiting Season

ลักษณะ

Habit

ต้น ไม้พุ่มเลื้อย สูงประมาณ 2-10 ม. เนื้อ ไม้เป็นสีน้ำตาล ใบ ใบเดี่ยว รุปไข่ หรือรี โคนใบสอบเข้า หากันมน ส่วนปลายใบแหลม หลังใบพื้น ผิวเรียบ ใต้ท้องใบมี 5-8 คู่ ขนาดกว้าง 1-2.5 นิ้ว ยาว 2-6 นิ้ว ดอก ออกเป็นช่อ ยาว 4-8 นิ้ว บริเวณปลาย ยอด ดอกเพศผู้และเพศเมียแยกอยู่คนละต้น ผล ค่อนข้างกลม ปลายผลมียอดเกสรตัว เมียติดอยู่ กว้าง 5-8 มม. ยาว 5-10 มม. ผลแก่เต็มที่เกสรที่อยู่ผลายผลก็จะหลุด ออก ผลแตกออกเป็นห้อง 3 ห้อง
พื้นที่ที่พบในสวนฯ

Display area (QSBG)

การกระจายพันธุ์

Distribution

ป่าดิบและป่าเบญจพรรณทั่วไป
หมายเหตุ

Remark

เมล็ด นำมาตำให้ละเอียดใช้พอกหรือกิน เป็นยาแก้โรคอัมพาต และโรคปวดเมื่อย ตามกล้ามเนื้อ
เอกสารอ้างอิง

Reference(s)

(4) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2558-2559 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่, สยามไภษัชยพฤกษ์(66)
QR code