Share








ชื่อวิทยาศาสตร์

Scientific name

Alpinia galanga (L.) Willd.
ชื่อวงศ์

Family name

ZINGIBERACEAE
ชื่อพื้นเมือง

Local name

ข่า Kha (General); ข่าหยวก Kha yuak, ข่าหลวง Kha luang (Northern); เสะเออเคย Se-oe-khoei, สะเอเชย Sa-e-choei (Karen-Mae Hong Son)กฏุกกโรหินี Katuk karohini (Central);
ชื่อสามัญ

Common name

Glalangl. Greater Galangal. Chinese Ginger
ส่วนที่นำมาใช้

Plant part used

(Rz) Rhizome
การใช้ประโยชน์

Uses and Ultilizing

เหง้า บดเป็นผงเป็นยาดมแก้อาการเวียนศีรษะ ต้มดื่มแก้เวียนศีรษะ เหง้าเข้ายาประคบแก้อัมพฤกต์ ต้มดื่มแก้อัมพฤกต์อัมพาต ขับลม เข้ายาหอม เข้ายาอาบแก้ลมผิดเดือน แก้หวัด (2) เหง้า ประกอบอาหาร ลวกจิ้มน้ำพริก หน่อ ใส่แกง ดอก ใส่แกง ลวกหรือกินสดกับน้ำพริก (4) เหง้าแก่ ทาแก้โรคผิวหนัง รักษาอาการคันในโรคลมพิษ แก้ท้องอืดท้อง เฟ้อ แน่จุเสียด
ข้อควรระวัง

Caution

-
ฤดูติดดอก ออกผล

Flowering & Fruiting Season

-
ลักษณะ

Habit

ต้น ไม้ลงหัวจำพวก กะวาน เร่ว กะลา จะลงหัวใหญ่ ขาว อวบอ้วน ชอบขึ้นตาม ที่ลุ่ม ใบ รูปไข่ยาว ออกสลับกันรอบๆ ลำต้นบน ดินกาบใบหุ้มลำต้นคล้ายใบพาย ดอก สีขาว เป็นช่อตรงปลายยอด จัดอยู่ อย่างหลวมๆ ผล กลมโต ขนาดเท่าเม็ดบัว เมื่อแก่มีสี ดำและมีเม็ดเล็กๆอยู่ภายใน รสขม เผ็ดร้อน
พื้นที่ที่พบในสวนฯ

Display area (QSBG)

การกระจายพันธุ์

Distribution

-
หมายเหตุ

Remark

เหง้าสด รักษาเกลื้อน โดยผสมกับเหล้า โรงหรือน้ำส้มสายชู หรือตำแล้วนำมา แช่ในแอลกอฮอล์ ทาบริเวณที่ป็น เหง้าแก่ ตำให้ละเอียด ทาแก้โรคผิวหนัง รักษาอาการคันในโรคลมพิษ แก้ท้อง อืดท้องเฟ้อ แน่จุเสียด นอกจากนี้ยังสามารถนำมาปรุงอาหารเพื่อ ช่วยดับกลิ่นคาว และเป็นส่วนผสมของ เครื่องเทศได้ ใช้เป็นอาหาร เหง้า ใช้ประกองปรุงอาหาร(บ้านม้งหนองหอย แม่แรม ชม.)
เอกสารอ้างอิง

Reference(s)

(4) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2558-2559 โครงการพฤกษศาสตร์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคเหนือตอนบน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ (43)
QR code