Share
ไม่พบรูปภาพ
ชื่อวิทยาศาสตร์

Scientific name

Capsicum frutescens L.
ชื่อวงศ์

Family name

SOLANACEAE
ชื่อพื้นเมือง

Local name

พริกขี้หนู Phrik khinu (Central); ครี Khri (Karen-Kamphaeng Phet); ดีปลี Dipli (Pattani); ดีปลีขี้นก Dipli khinok, พริกขี้นก Phrik khinok (Peninsular); ปะแกว Pa-kaeo (Chaobon-Nakhon Ratchasima); พริก Phrik (Central, Northern); พริกแด้ Phrik dae, พริกแต้ Phrik tae, พริกแต้หนู Phrik tae nu, พริกนก Phrik nok (Northern); มะระตี้ Ma-ra-ti (Khmer-Surin); มือซาซีซู Mue-sa-si-su, มือส่าโพ Mue-sa-pho (Karen-Mae Hong Son); หมักเพ็ด Mak phet (Northeastern)
ชื่อสามัญ

Common name

Cayenne Pepper
ส่วนที่นำมาใช้

Plant part used

(Ft) Fruit
การใช้ประโยชน์

Uses and Ultilizing

ผล เจริญอาหาร แก้บิด อาเจียน ปวดบวม กลาก หิด ปรุงรสอาหาร ให้มีรสเผ็ดขับเสมหะ แก้ไข้ แก้ตาซาง ใช้เป็นส่วนผสมในยาขับลมและยาขี้ผึ้งถูนวด
ข้อควรระวัง

Caution

ฤดูติดดอก ออกผล

Flowering & Fruiting Season

ลักษณะ

Habit

ต้น ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงประมาณ 45-75 ซ.ม. ใบ ใบเดี่ยว ออกตรงกันข้ามกัน ใบกลมรี ปลายใบแหลม ดอก ออกตรงง่ามใบเป็นกลุ่ม ประมาณ 1-3 ดอก เป็นสีขาว มีกลีบดอกประมาณ 5 กลีบ ส่วนเกสรตัวผู้มี 5 อัน เกสรตัวเมียมี 1 อัน มีรังไข่ประมาณ 2-3 ห้อง ผล ผลสุกมีสีแดง หรือสีแดงปนน้ำตาล ลักษณะผลมีผิวลื่นเป็นมัน ภายในผลกลวง มีแกนกลาง รอบๆ แกนจะมีเมล็ดเป็นสี เหลืองเกาะอยู่มากมาย และเมล็ดมีรสเผ็ด
พื้นที่ที่พบในสวนฯ

Display area (QSBG)

การกระจายพันธุ์

Distribution

หมายเหตุ

Remark

นอกจากจะมีสรรพคุณทางสมุนไพรแล้ว พริกขี้หนู ยังถือเป็นพืชเครื่องเทศที่สำคัญ กับคนไทยอีกด้วย
เอกสารอ้างอิง

Reference(s)

สารานุกรมสมุนไพร เล่ม 1 สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ72)
QR code